หลักเกณฑ์การช่วยเหลือผู้ประสบภัย พิบัติ 2565 ด้านพืช

นโยบายการใช้คุกกี้ของกลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง

เมื่อท่านได้เข้าสู่เว็บไซต์กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง //www4.fisheries.go.th/Disasterfisheries ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเข้าสู่เว็บไซต์ของท่านจะถูกเก็บเอาไว้ในรูปแบบของคุกกี้ โดยนโยบายคุกกี้นี้จะอธิบายถึงความหมาย การทำงาน วัตถุประสงค์ รวมถึงการลบและการปฏิเสธการเก็บคุกกี้เพื่อความเป็นส่วนตัวของท่าน โดยการเข้าสู่เว็บไซต์นี้ถือว่าท่านได้อนุญาตให้หน่วยงานราชการใช้คุกกี้ตามนโยบายคุกกี้ที่มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1. คุกกี้คืออะไร

คุกกี้ คือ ไฟล์ข้อความขนาดเล็กที่ถูกดาวน์โหลดไปยังอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์มือถือของท่าน ซึ่งทำหน้าที่บันทึกข้อมูลและการตั้งค่าต่าง ๆ เช่น บันทึกข้อมูลการตั้งค่าภาษาในอุปกรณ์บนอุปกรณ์ของท่าน บันทึกสถานะการเข้าใช้งานในปัจจุบันของท่าน เพื่อช่วยให้ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บไซต์และ/หรือแอปพลิเคชัน (รวมเรียกว่า “บริการ”) ได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการเข้าใช้งานบริการที่ท่านชื่นชอบในรูปแบบไฟล์ โดยคุกกี้ไม่ได้ทำให้เกิดอันตรายต่ออุปกรณ์ของท่าน และเนื้อหาในคุกกี้จะถูกเรียกออกมาดูหรืออ่านได้โดยบริการที่สร้างคุกกี้ดังกล่าวเท่านั้น

2. ประโยชน์ของคุกกี้

คุกกี้จะบอกให้ทราบว่าท่านเข้าใช้งานส่วนใดในบริการของกลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง เพื่อที่กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง จะสามารถมอบประสบการณ์การใช้บริการที่ดีขึ้นและตรงกับความต้องการของท่านได้ นอกจากนี้ การบันทึกการตั้งค่าแรกของบริการด้วยคุกกี้จะช่วยให้ท่านเข้าถึงบริการด้วยค่าที่ตั้งไว้ทุกครั้งที่ใช้งาน ยกเว้นในกรณีที่คุกกี้ถูกลบซึ่งจะทำให้การตั้งค่าทุกอย่างจะกลับไปที่ค่าเริ่มต้น

3. การใช้งานคุกกี้

กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง ใช้คุกกี้และเทคโนโลยีอื่น เช่น พิกเซลแท็ก (Pixel-tags) บนบริการของกลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง (รวมเรียกว่า “บริการที่อ้างอิงนโยบายการใช้คุกกี้”) ดังนั้น บริการใดก็ตามที่ท่านใช้เพื่อเข้าถึงบริการที่อ้างอิงนโยบายการใช้คุกกี้จะได้รับคุกกี้จากกลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง

เมื่อท่านเข้าถึงบริการที่อ้างอิงนโยบายการใช้คุกกี้ คุกกี้ของกลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง จะถูกดาวน์โหลดไปยังอุปกรณ์ของท่านเพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบการใช้และประวัติการใช้บริการ ข้อมูลหรือบริการที่ท่านสนใจ รวมถึงหมายเลขอ้างอิงการเข้าใช้บริการล่าสุดของท่าน เป็นต้น

นอกจากนั้น กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง มีการใช้งานคุกกี้ร่วมกับเทคโนโลยีประเภทพิกเซลแท็ก เพื่อทราบถึงรูปแบบการใช้และประวัติการใช้บริการ ข้อมูลหรือบริการที่ท่านสนใจ และนำไปวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาการให้บริการ แสดงเนื้อหา โฆษณา หรือประชาสัมพันธ์กิจกรรมที่เหมาะสมรวมถึงการบริการต่าง ๆ ที่ตรงกับความสนใจของท่าน เพื่อเพิ่มความพึงพอใจให้แก่ท่านได้มากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง จะใช้งานคุกกี้ภายใต้รายละเอียดที่ระบุในคำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว

สำหรับประเภทคุกกี้ที่กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง ใช้งาน สามารถแบ่งประเภทได้ ดังนี้

3.1 คุกกี้เพื่อการให้บริการ คุกกี้เพื่อการให้บริการจะช่วยให้ท่านสามารถใช้บริการ และ/หรือเข้าถึงฟังก์ชันต่าง ๆ ได้ เช่น คุกกี้ที่จัดการเรื่องการเข้าสู่ระบบ (Login) และสถานะการเข้าสู่ระบบของท่าน

3.2 คุกกี้ที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการใช้บริการ คุกกี้ที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการใช้บริการจะช่วยอำนวยความสะดวกแก่ท่านในการใช้บริการ รวมทั้งช่วยให้กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง รู้จักท่านมากยิ่งขึ้น โดยกลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง จะใช้ข้อมูลดังกล่าวนี้ในการนำเสนอและพัฒนาระบบเว็บไซต์กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง ให้ตรงกับความสนใจของท่านต่อไป

ตัวอย่างการอำนวยความสะดวกแก่ท่านในการใช้บริการด้วยคุกกี้ประเภทนี้ คือ

1. ช่วยจำสถานะของการใช้บริการ เช่น ภาษาที่เลือกใช้
2. ช่วยจำคำตอบที่ท่านเคยตอบไปแล้ว ซึ่งจะช่วยให้ท่านไม่ต้องตอบคำถามเดิมซ้ำอีก
3. ให้บริการ Live Bot บนเว็บไซต์ของกลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง
4. ให้บริการฟังก์ชัน Social Media Sharing ซึ่งจะช่วยให้ท่านสามารถแบ่งปันเนื้อหาที่สนใจบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network)

ทั้งนี้ เพื่อการให้บริการและเพื่ออำนวยความสะดวกแก่ท่านในการใช้บริการตามตัวอย่างข้างต้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการใช้งานโปรแกลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง เสริม (Plugin) และบริการของบุคคลที่สาม เช่น Google Analytics, Facebook Analytics, Truehits, Hotjars, Facebook, Line, Twitter, และ Add This

4. วิธีปิดการทำงานของคุกกี้

ท่านสามารถปิดการทำงานของคุกกี้ได้ โดยการตั้งค่าเบราว์เซอร์ของท่าน และตั้งค่าความเป็นส่วนตัวเพื่อระงับการรวบรวมข้อมูลโดยคุกกี้ในอนาคต (รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถศึกษาได้จาก AboutCookies.org)

อย่างไรก็ตาม บริการบางอย่างบนเว็บไซต์ของกลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง จำเป็นต้องมีการใช้คุกกี้ หากท่านปิดการทำงานคุกกี้อาจทำให้ท่านไม่สามารถที่จะใช้งานบางฟังก์ชันหรือทั้งหมดของเว็บไซต์ได้

5. การแก้ไขเปลี่ยนแปลงนโยบายฯ

กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงและแก้ไขนโยบายฯฉบับนี้ เพื่อให้เป็นไปตามกฏระเบียบรวมถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยนโยบายเวอร์ชันล่าสุดจะประกาศบนเว็บไซต์กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง ที่ //www4.fisheries.go.th/Disasterfisheries เพื่อให้ท่านทราบแนวทางที่กลุ่มช่วยเหลือเกษตรกรและชาวประมง ใช้ในการปกป้องข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน

คุณภาพชีวิต

20 ต.ค. 2565 เวลา 13:33 น.7.1k

อัปเดตแจ้งให้ทราบด่วนเลย เงินช่วยเหลือเกษตรกร เช็กเกณฑ์ผู้ได้รับเงิน เยียวยาเกษตรกรน้ำท่วมปี 65 ตรวจสอบว่าใครจะได้เงินหมื่นหรือพันบาท

ตามต่อบอกให้รู้ กรณี เงินช่วยเหลือเกษตรกร เช็กเกณฑ์ผู้ได้รับ เงินเยียวยาเกษตรกร น้ำท่วมปี 65 มาตรการช่วยเหลือพื้นที่เกษตรเสียหายจากภัยพิบัติจากอุทกภัย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมส่งเสริมการเกษตร ชี้แจง กณฑ์การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติด้านพืช ยังคงเป็นไปตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2562

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

  • เงินเยียวยาเกษตรกรปี 65 เช็กด่วน กระทรวงเกษตรฯแจกเงินช่วยเหลือน้ำท่วม

และหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2563 และหลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติปลีกย่อยเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือด้านการเกษตรผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2564 

เกษตรกรต้องขึ้นทะเบียนเกษตรกร และปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรกับกรมส่งเสริมการเกษตรก่อนเกิดภัย มีพื้นที่เสียหายจริง อยู่ในพื้นที่ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือ และช่วยเหลือไม่เกินครัวเรือนละ 30 ไร่ 

โดยการขอรับความช่วยเหลือนั้น มีระเบียบขั้นตอนดังนี้ 
1. เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินแล้ว เกษตรกรยื่นแบบขอรับการช่วยเหลือ (กษ 01) ซึ่งมีผู้ใหญ่บ้าน/กำนัน/อบต. หรือนายกเทศมนตรีตรวจสอบและรับรอง ตามสถานที่ที่กำหนด

2. คณะกรรมการหมู่บ้านตรวจสอบ และรับรองความเสียหายนำรายชื่อเกษตรกรที่ผ่านการตรวจสอบแล้ว ไปติดประกาศคัดค้านตามสถานที่ที่กำหนด ไม่น้อยกว่า 3 วัน

3. สำนักงานเกษตรอำเภอนำเสนอคณะกรรมการ ก.ช.ภ.อ. พิจารณาให้ความช่วยเหลือ วงเงินไม่เกิน 500,000 บาท 

  • หากไม่เพียงพอ ให้สำนักงานเกษตรจังหวัดเสนอคณะกรรมการ ก.ช.ภ.จ. พิจารณาให้ความช่วยเหลือ วงเงินในอำนาจ 20 ล้านบาท 
  • หรือหากไม่เพียงพอให้คณะกรรมการ ก.ช.ภ.จ. พิจารณาให้ความเห็นชอบใช้เงินทดรองราชการ ในอำนาจปลัด กษ. วงเงินในอำนาจ 50 ล้านบาท

การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ที่กำหนดตามประกาศเขตพื้นที่ประสบสาธารณภัย เขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน กรณีไม่สามารถดำเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติได้ตามระยะเวลาที่กำหนด ให้ยื่นขยายระยะเวลาการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ก่อนระยะเวลาการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินสิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า 15 วัน และขอให้มีการบูรณาการหน่วยงานในระดับพื้นที่ เพื่อเร่งรัดดำเนินการให้ความช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยพิบัติด้านการเกษตร 

กรณีพื้นที่ทำการเพาะปลูก มีพืชตายหรือเสียหายจนไม่สามารถฟื้นฟู หรือเยียวยาให้กลับสู่สภาพเดิมได้อีก ให้ช่วยเหลือตามจำนวนพื้นที่เพาะปลูกที่เสียหายจริง ไม่เกินครัวเรือนละ 30 ไร่ ในอัตรา ดังนี้

  • ข้าว ไร่ละ 1,340 บาท
  • พืชไร่และพืชผัก ไร่ละ 1,980 บาท
  • ไม้ผลไม้ยืนต้น และอื่นๆ ไร่ละ 4,048 บาท

การประมง ให้ดำเนินการช่วยเหลือผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ประสบภัยพิบัติที่สัตว์ตายหรือสูญหาย ให้ดำเนินการช่วยเหลือเป็นเงิน ดังนี้

  • กุ้งก้ามกราม กุ้งทะเล หรือหอยทะเล ไร่ละ 11,780 บาท ไม่เกินรายละ 5 ไร่
  • ปลาหรือสัตว์น้ำอื่นๆ ที่เลี้ยงในบ่อดิน นาข้าวหรือร่องสวน (คิดเฉพาะพื้นที่เลี้ยง)ไร่ละ 4,682 บาท ไม่เกินรายละ 5 ไร่
  • สัตว์น้ำที่เลี้ยงในกระชัง บ่อซีเมนต์ หรือที่เลี้ยงในลักษณะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ตารางเมตรละ 368 บาท ไม่เกินรายละ 80 ตารางเมตร

หากคิดคำนวณพื้นที่เลี้ยงแล้ว ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำที่ประสบภัยพิบัติรายใดจะได้รับการช่วยเหลือเป็นเงินไม่ต่ำกว่า 368 บาท ให้ช่วยเหลือในอัตรารายละ 368 บาท

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก