เกณฑ์ มาตรฐาน และ ตัวชี้วัด โรงเรียน สิ่งแวดล้อม ศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

คูมือ

โรงเรียนมาตรฐานส่ิงแวดลอมศึกษาเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน

(Environmental Education Sustainable Development School : EESD School)

ZERO WASTE ENERGY

BIO DIVERSITY

ยทุ ธศาสตรดานการสรางการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ที่เปนมติ รกับสิง่ แวดลอ ม
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศกึ ษาธิการ

Go .... !

คํานํา

มาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางสําหรับสงเสริมกํากับ
ดูแลติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินงานโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน
โดยความรวมมือกันระหวางสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอม โดย
การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) กระทรวงพลังงาน ใหมีแนวปฏิบัติที่ตรงกัน จากการระดม
ความคิดของผูเก่ียวของทุกฝาย โดยนําหลักคิดการพัฒนาสถานศึกษาท้ังระบบ (Whole School
Approach : WSA) การดําเนินงานโครงการส่ิงแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โครงการโรงเรียน
สีเขียว หองเรียนสีเขียว โครงการ Eco - School โครงการสงเสริมสุขภาพและการนอมนําหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางจัดทํามาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา ซ่ึงมีองคประกอบ
๔ ดาน ๑๐ มาตรฐาน ๓๑ ตัวชี้วัดโดยมีเปาหมายสูงสุดคือการพัฒนาสูความยั่งยืนใหผูเรียน ครู
ผูบริหารโรงเรียน และผูเก่ียวของ มีความตระหนัก เห็นคุณคาในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอม และมีวิถีชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม อันสงผลตอสภาพแวดลอมท่ีดี ปราศจากมลพิษ
เปนโรงเรียน ชุมชน สังคมแหงความสะอาด สวยงาม ปลอดภัย และเปนผูมีสวนรวมในการลดภาวะ
โลกรอนท้ังทางตรงและทางออมสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณคณะทํางานทุกทาน ท่ีชวยกันจัดทํามาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา
ฉบับน้ี จนสําเร็จลุลวงไปดวยดี และคาดหวังวาเอกสารฉบับน้ีจะเปนประโยชนในการพัฒนาสิ่งแวดลอม
ศึกษา ทั้งในโรงเรียนชุมชนสังคมและประเทศชาติตอไป

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

สารบัญ

บทที่ ๑
๔ บทนํา
๔ ความสําคัญในการกําหนดมาตรฐาน
๗ วัตถุประสงค

บทที่ ๒
๘ โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
๙ หลักการ แนวคิด
๑๐ เปาหมาย
๑๐ มาตรฐานและตัวชี้วัด
๑๑ ๑. มาตรฐานดานการบริหารจัดการ
๑๑ ๒. มาตรฐานดานหลักสูตร

และการจัดการเรียนรู
๑๒ ๓. มาตรฐานดานการมีสวนรวม

และการสรางเครือขาย
๑๒ ๔. มาตรฐานดานผลท่ีเกิดข้ึน

บทที่ ๓

๑๔ มาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
๑๔ คาํ อธบิ ายและระดับคณุ ภาพมาตรฐานโรงเรยี นส่งิ แวดลอ มศึกษา
๑๔ ๑. มาตรฐานดานการบริหารจัดการ
๑๔ มาตรฐานท่ี ๑ สถานศึกษามรี ะบบการบริหารจดั การดานสง่ิ แวดลอมศึกษา

(ขยะ มลพิษ น้ํา พลังงาน อนามัย) ท่ีมีประสิทธิภาพ

๒๐ มาตรฐานที่ ๒ ครแู ละบคุ ลากรในสถานศกึ ษาไดร บั การพฒั นาดา นสงิ่ แวดลอ ม
ศกึ ษาอยางสม่ําเสมอ

๒๓ ๒. มาตรฐานดานหลักสูตรและการจัดการเรียนรู
๒๓ มาตรฐานท่ี ๓ สถานศึกษามีหลักสูตรและจัดการเรียนรูดานส่ิงแวดลอมศึกษาที่

สอดคลองกับบริบทของทองถิ่น
๒๙ มาตรฐานที่ ๔ สถานศึกษามีการสงเสริมการจัดกิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ

พลังงาน สิ่งแวดลอมและ สุขอนามัย(ขยะ มลพิษ น้ํา พลังงาน อนามัย)
๓๓ ๓. มาตรฐานดานการมีสวนรวมและการสรางเครือขาย
๓๓ มาตรฐานท่ี ๕ สถานศึกษามีการสรางเครือขายการมีสวนรวมภายในสถานศึกษา
๓๕ มาตรฐานท่ี ๖ สถานศึกษามีสรางเครือขายการมีสวนรวมจากบุคคล

และหนวยงานภายนอก
๓๘ ๔. มาตรฐานดานผลที่เกิดข้ึน
๓๘ มาตรฐานที่ ๗ สถานศึกษามีสภาพแวดลอมท่ีสวยงาม สะอาด รมร่ืน ปลอดภัย และ

เอ้ือตอการจัดการเรียนรู
๔๑ มาตรฐานที่ ๘ ครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนแบบอยางท่ีดีดานการอนุรักษ

สิ่งแวดลอมศึกษา
๔๓ มาตรฐานที่ ๙ ผูเรียนมีพฤติกรรมท่ีรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม
๔๕ มาตรฐานท่ี ๑๐ ชุมชน/เครือขาย มีสภาพแวดลอมท่ีสะอาด สวยงาม ปราศจากขยะ

และมลพิษ

บทที่ ๔

๔๗ การใหคะแนนตัวบงช้ีและสรุปผลรายมาตรฐาน

๕๑ ภาคผนวก
๑๐๑ บรรณานุกรม
๑๐๑ คณะทํางาน

บทที่ ๑

บทนํา

ความจําเปนในการกําหนดมาตรฐาน

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ภายใตว สิ ยั ทศั นท ว่ี า
“สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง”
และไดกําหนดพันธกิจ ขอ ๔ สรางความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้ง
สรางภูมิคุมกันเพื่อรองรับผลกระทบการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ
โดยมีวัตถุประสงค ขอ ๔ เพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเพียงพอตอ
การรักษาสมดุลของระบบนิเวศและเปนฐานที่มั่นคงของการพัฒนาประเทศ ที่ใหความสําคัญกับการ
มีสวนรวมของทุกภาคสวน ทั้งในระดับชุมชน ระดับภาคและระดับประเทศ จึงไดกําหนดยุทธศาสตร
การพัฒนาสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีย่ังยืน ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยใหมีภูมิคุมกันตอ
การเปล่ียนแปลง โดยสรางจิตสํานึกใหคนไทยมีความรับผิดชอบตอสังคม เคารพกฎหมาย หลัก
สิทธิมนุษยชน สรางคานิยมการผลิตและบริโภคท่ีรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอม เรียนรูการรองรับการ
เปล่ียนแปลงที่เกิดจากสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ (สรุปสาระสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) อางถึงใน นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน)

จากความสําคัญดังกลาว สิ่งแวดลอมศึกษา
จึงกําหนดเปนนโยบายสําคัญในการจัดการศึกษา
ทุกระดับเพราะการศึกษาเปนกระบวนการท่ีทําให
คนมีความรูและคุณสมบัติตางๆท่ีชวยใหคนน้ัน
อยูรอดในโลกไดเปนประโยชนตอตนเองครอบครัว
และสังคมสวนรวม (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี, ๒๕๔๕) ดังน้ันคุณภาพการ
ศึกษาจึงสะทอนถึงคุณภาพของคนท่ีเปนผลิตผล
ของการจัดการศึกษาในดานสง่ิ แวดลอ มกเ็ ชน เดยี วกนั
ประเทศไทยและทกุ ประเทศทว่ั โลก ใหค วามสาํ คญั ใน

การพัฒนาคนเพ่ือส่ิงแวดลอม จึงเกิดการประสานความรวมมือระหวางประเทศในปพ.ศ.๒๕๔๔ –
๒๕๔๗ เปนระยะเวลา ๓ ปที่ประเทศไทยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลประเทศเดนมารก
โดย องคกรความชวยเหลือดานส่ิงแวดลอมและการพัฒนาแหงประเทศเดนมารก(DANIDA) ไดทํา
ขอ ตกลงรว มกนั กบั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยความรว มมอื
ของ ๕ NGOs ท่ีรวมพัฒนาโรงเรียนใน ๕ ภูมิภาค คือ มูลนิธิการศึกษาไทย (Thai Education
Foundation : TEF) สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน (Population and Community
Development Association: PDA) องคการกองทุนสัตวปาโลกสากล (World Wide Fund for
Nature: WWF) มูลนิธิโลกสีเขียว(Green World Foundation: GWF) และสถาบันธรรมรัฐเพื่อ
การพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม:ธ.พ.ส.ส.(Good Governance for Social Development and
the environment Institute: GSEI) การดําเนินโครงการสรางความเขมแข็งสิ่งแวดลอมศึกษาใน
ประเทศไทย (Strengthening Environmental Education in Thailand: SEET ) มีวัตถุประสงค
เพื่อสรางความเขมแข็งใหแกการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาในประเทศไทย โดยการพัฒนาหลักสูตร
ส่ิงแวดลอมศึกษา และผลิตสื่อการเรียนการสอนใหสอดคลองกับแตละทองถ่ิน เปาหมายเพื่อสงเสริม
สนับสนุนใหผูเรียนเติบโตอยางมีคุณภาพสูการเปนประชากรที่เขมแข็ง (Strong Citizen) ของสังคม
ประชาธิปไตย โดยผูเรียนไดเรียนรูประเด็นปญหาการใชทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน อันเปนความ
ขัดแยงระหวางคนกลุมตางๆ ในชุมชนที่รวมกันใชทรัพยากรธรรมชาติ และสามารถรับรูและวิเคราะห
ประเด็นปญหาส่ิงแวดลอมของชุมชนไดตามสภาพจริงอยางเขาใจในเหตุและผล รวมทั้งเขาใจสภาพ
การเปล่ียนแปลงของปญหาการใชทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน จากอดีตสูปจจุบันและแนวโนมใน
อนาคตจากความรูความเขาใจเหลาน้ีจะชวยใหผูเรียนสามารถสรางสรรคทางเลือกตางๆ ท่ีเปนไปได
ในอนาคต แลวสามารถตัดสินใจเลือกแนวทางแกปญหาไดอยางมีคุณคา โดยทางที่เลือกน้ันไมเพียง
ใหผลในการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในปจจุบันเทานั้น แตจะสงผลกระทบ
อยางสรางสรรคตอความย่ังยืนในการมีและการใชทรัพยากรธรรมชาติของคนรุนตอไปในอนาคตดวย
การสงเสริมและพัฒนาโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาจึงนับเปนกลไกสําคัญในการขับเคล่ือนส่ิงแวดลอม

ศึกษาอยางเปนรูปธรรม ซ่ึงกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมไดมีนโยบายสงเสริมสิ่งแวดลอมศึกษา
ในโรงเรียนข้ึน ในป พ.ศ. ๒๕๔๘ สอดรับการดําเนินการขององคการสหประชาชาติท่ีไดประกาศให
ป พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๕ เปนศตวรรษแหงการศึกษาเพ่ือการพัฒนาอยางย่ังยืน (United Nations
Decade of Education for Sustainable Development : DESD) โดยใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอม
ศึกษาเปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาจิตสํานึก และเจตคติดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความรวมมือกับบิดา มารดา ผูปกครอง
และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพ่ือรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ ซึ่งสอดคลองกับแนวทางในการ
สงเสริมพัฒนาบุคลากรในสังกัดของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ไดจัดกิจกรรม
ฝกอบรมเพื่อสรางความเขมแข็งดานส่ิงแวดลอมศึกษาใหกับสถานศึกษาในจังหวัดนํารอง และตนแบบ
สํานักงานสีเขียว มีการติดตามประเมินผลหลังจากการประชุมแลกเปล่ียนในแตละภูมิภาคแตละพื้นท่ี
ซึ่งจากผลการติดตามประเมินผลการดําเนินงานของโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการ พบวา โรงเรียนท่ีเขา
รับการอบรม ไดนําความรูท่ีไดรับการอบรม สัมมนา แลกเปล่ียนเรียนรูไปปรับใชตามบริบทของพ้ืนท่ี
ท้ังในระดับ สํานักเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาและสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาได
อยางเหมาะสม ตลอดจนมีการขยายผลสูโรงเรียนเครือขายส่ิงแวดลอมศึกษา เพื่อใหเกิดการพัฒนา
อยางตอเน่ืองและความย่ังยืน

สถานการณป จ จบุ นั โรงเรยี นในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สว นใหญจ ดั การเรยี นรโู ดยบรู ณาการ
สิ่งแวดลอมศึกษาในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีการจัดการเรียนรู
ที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญตามแนวปฏิรูปการศึกษา ตลอดจนหนวยงานท่ีดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา
เขามามีบทบาทสงเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมส่ิงแวดลอมศึกษาในโรงเรียนทั้งระดับภูมิภาคและ
ระดับชาติ หนวยงานตางๆ ไดตระหนักถึงความสําคัญของสถานการณปญหาสิ่งแวดลอมท้ังระดับ
ทองถ่ิน ระดับประเทศและระดับโลก จึงมีความจําเปนท่ีจะรวมมือกันปองกันและแกปญหาสิ่งแวดลอม
ท้ังระยะส้ันและระยะยาวอยางไรก็ตามเพ่ือบูรณาการหลักการ แนวคิดดานสิ่งแวดลอมศึกษาของหนวย
งานตางๆ ใหมีแนวปฏิบัติท่ีตรงกัน สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดประสานความรวมมือกับกรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอมการไฟฟาฝายผลิต
แหงประเทศไทย (กฟผ.) กระทรวงพลังงาน และกระทรวงสาธารณสุขในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
จัดทําคูมือมาตรฐานโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน เมื่อวันที่ ๑๕-๑๙ พฤศจิกายน
๒๕๕๘ ณ โรงแรมบียอนดสวีทกรุงเทพมหานคร ทั้งน้ีเพ่ือใหไดมาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา
ท่ีเปนขอกําหนดคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงคที่ตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง
มาตรฐานถูกกําหนดขึ้นเพ่ือใชเปนหลักเทียบเคียง สําหรับสงเสริม กํากับดูแลติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผลการดําเนินงานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน ซ่ึงประกอบดวยมาตรฐาน

และตัวชี้วัดดานการบริหารจัดการโรงเรียนทั้งระบบ (Whole School Approach: WSA) การจัด
หลักสูตรและการจัดการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษา การมีสวนรวมและเครือขาย และผลที่เกิดกับนักเรียน
ครู โรงเรียน ตลอดจนชุมชนอันจะสงผลในระยะยาวคือการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อเตรียมความ
พรอมใหนักเรียนเติบโตข้ึนเปนประชาชน มีความรู ความเขาใจอยางถูกตอง และสรางสรรค ในประเด็น
ปญหาส่ิงแวดลอมของชุมชน มีกระบวนการวิเคราะหอยางสรางสรรค และมีสมรรถนะในการปฏิบัติ
จริง ทั้งในดานการคิด การตัดสินใจ การรวมมือกันปฏิบัติงาน การใชและบํารุงทรัพยากรธรรมชาติ
อยางชาญฉลาดท่ีจะเปนบุคคลแหงการเรียนรู สอดคลองกับการ
จัดการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑

พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีของไทย
คนปจจุบันไดแถลงนโยบายและจุดยืนดานสิ่งแวดลอมในการ
ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ วาดวยการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ สมัยที่ ๒๑(COP๒๑) ในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน
๒๕๕๘ ที่กรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส ในความรวมมือผลักดัน
ใหการเจราจาเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกบรรลุผลอยาง
เปนรูปธรรมและยั่งยืน และยังไดแสดงความกังวลตอผลกระทบ
จากการเปล่ียนแปลงของสภาวะภูมิอากาศ โดยเฉพาะภัยแลงที่
สงผลกระทบตอความม่ันคงทางอาหารและเปนปญหาตอเกษตรกรและมีความกังวลวา ในอนาคตอัน
ใกลน้ี อาจจะเกิดปญหาแยงชิงน้ําและเสนอแนะวาตองทําอุตสาหกรรมสีเขียวเกิดขึ้น เพ่ือเพิ่มรายไดให
กับประชาชนและยังเปนการลดกาซเรือนกระจกดวย นอกจากนี้ยังขอใหประเทศพัฒนาแลวถายทอด
ความรูรวมวิจัยพัฒนาเพื่อลดการปลอยกาซที่ ๒๐-๒๕ % ภายในป ๒๐๓๐ โดยจะมีมาตรการลดการ
ใชเชื้อเพลิงฟอสซิล เพิ่มการใชพลังงานหมุนเวียน ใชแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟา (Power
Development Plan: PDP) ฉบับใหม ลดการขนสงทางถนน เพ่ิมการขนสงระบบราง ขจัดการบุกรุก
ปา ทําแผนจัดการน้ํา และทํา Road map ลดหมอกควัน โดยจะมีการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใชใหเกิดการพัฒนารูปแบบประชารัฐโดยทุกฝายตองรวมมือกัน

วัตถุประสงค วัตถุประสงค เพื่อใชเปนหลักเทียบเคียง สําหรับ

สงเสริม กํากับดูแลติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการ

ดําเนินงานโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน

1. เพื่อใชเปนหลักเทียบเคียง สําหรับสงเสริม เกพํา่ือกใชับเดปูแนลแตนิดวทตาางมในตกรารวบจรสิหอาบรและ

ประเมินผลการดําเนินงจาัดนกโารรงเเพรื่อียพนัฒสน่ิงแากวาดรลจอัดมสศ่ิงแึกวษดาลเอพม่ือศกึ าษราพในัฒสนถาานทศี่ยึก่ังษยาืน

2. เพื่อใชเปนแนวทางในการบริหารจัดการเพ่ือพัฒนาการจัดส่ิงแวดลอมศึกษา ๗

บทท่ี ๒

โรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา
เพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน

แนวคิดส่ิงแวดลอมศึกษา

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนฐานอันสําคัญของการพัฒนาประเทศใหเกิด
ความเจริญกาวหนา นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของประชาชนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอม การใชประโยชนและการอนุรักษจึงตองมองใหรอบดาน ตั้งแตระดับทองถิ่นจนถึงระดับโลก
ดังนั้นสํานักงานคณะกรรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมกันกําหนดอนาคตท่ีเราตองการ การพัฒนา
ท่ียั่งยืนใหได จึงจําเปน ตองอาศัยเครื่องมือสําคัญที่นานาประเทศตางใหการยอมรับ คือสิ่งแวดลอม
ศึกษา ซึ่งเปนกระบวนการท่ีสงเสริมใหคน กลุมคน หรือสังคมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจําวัน
โดยคํานึงถึง ความสัมพันธของมิติตาง ๆ ท้ังทางดานเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ตลอดจน
ความสําคัญของการอนุรักษและการพัฒนา

ส่ิงแวดลอมศึกษามีจุดมุงหมายเพื่อสรางความรู ความเขาใจ ปรับเปลี่ยน เจตคติ และพฤติกรรม
ของนักเรียนใหมีความตระหนักในการอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอม แตลําพังการจัดการเรียน
การสอนในวิชาตางๆคงไมเพียงพอที่จะบรรลุจุดมุงหมายนี้ไดหรือไมอาจหวังผลที่ยั่งยืนและเปนจริงได
ดังน้ันโรงเรียนจึงตองมีการดําเนินการพัฒนาโรงเรียนท้ังระบบ (Whole School Approach:WSA)
ใหสอดคลองกับหลักการส่ิงแวดลอมศึกษาและใหนักเรียนไดรับความรูและประสบการณการดําเนิน
ชีวิตในเชิงอนุรักษตั้งแตภายในโรงเรียน

ดังนั้นจึงกลาวไดวา ส่ิงแวดลอมศึกษา คือ
กระบวนการใหความรูความเขาใจ เรื่องส่ิงแวดลอม เพ่ือ
นกั เรยี นไดเ กดิ ความตระหนกั เจตคติ มที กั ษะในการปฏบิ ตั ิ
ตนตอส่ิงแวดลอม สามารถเปล่ียนพฤติกรรมในการดํารง
ชวี ติ อยใู นสง่ิ แวดลอ มไดอ ยา งยงั่ ยนื และการใชท กั ษะการ
คดิ วเิ คราะหใ นการตดั สนิ ใจทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการจดั การ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มไดอ ยา งเหมาะสม

คําอธิบาย

สถานศึกษา มกี ารพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา/สาระการเรียนรูท อ งถ่ินดา นสิง่ แวดลอ มศึกษาท่ี
สอดคลอ งกบั สภาพบรบิ ทของทอ งถน่ิ โดยวเิ คราะหห ลกั สตู รแกนกลางฯมาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั
สงิ่ แวดลอ มในทอ งถน่ิ จดั ทาํ หนว ยการเรยี นรบู รู ณาการสง่ิ แวดลอ มศกึ ษาทกุ กลมุ การเรยี นรตู ามบรบิ ทของ
ทอ งถ่ิน จดั ทาํ แผนการจดั การเรียนรสู ่ิงแวดลอมศึกษาบูรณาการในกลุมสาระการเรียนที่เกย่ี วขอ ง มีการ
ใชและนเิ ทศตดิ ตามประเมินหนวย/แผนการจัดการเรียนรูส่งิ แวดลอมศึกษาของสถานศกึ ษา

ประเด็นการพิจารณา

๑. มกี ารวเิ คราะหห ลกั สตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั ทเี่ กย่ี วขอ งกบั สง่ิ แวดลอ ม
๒. มีการวเิ คราะหสภาพปจจบุ นั ปญหาของชุมชน เช่ือมโยงสูห ลกั สูตรแกนกลางฯ มาตรฐาน

ตัวช้ีวัดที่สอดคลองกับส่ิงแวดลอม
๓. มกี ารจัดทาํ หนว ยการเรยี นรูบูรณาการสงิ่ แวดลอ มศึกษาตามบรบิ ทของทองถน่ิ
๔. มีการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการส่ิงแวดลอมศึกษาในกลุมสาระการเรียนรูท่ี

เกี่ยวของ
๕. มีการใชและประเมินหนวย/แผนการจัดการเรียนรูส่ิงแวดลอมศึกษาของสถานศึกษา
๖. มีการนิเทศติดตาม และประเมิณหนวย/แผนการจัดการเรียนรูส่ิงแวดลอมศึกษาของ

สถานศึกษา

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ คาํ อธบิ ายระดับคุณภาพ
๕ - มกี ารวเิ คราะหห ลกั สูตรแกนกลางฯ มาตรฐาน ตวั ช้ีวัดทเ่ี กย่ี วของกับส่ิงแวดลอ ม
- มีการวเิ คราะหส ภาพปจจุบัน ปญหาของชมุ ชน เชอื่ มโยงสูหลกั สตู รแกนกลางฯ
๔ มาตรฐาน ตัวช้วี ดั ท่สี อดคลองกบั ส่งิ แวดลอ ม
- มีการจดั ทาํ หนวยการเรียนรูบรู ณาการสิง่ แวดลอมศกึ ษาตามบรบิ ทของทอ งถนิ่
- มกี ารจดั ทําแผนการจัดการเรยี นรูบรู ณาการส่งิ แวดลอมศกึ ษาในกลุมสาระการเรียนรู
ทเ่ี กยี่ วของ
- มกี ารใช และนเิ ทศตดิ ตามประเมนิ ประเมินหนว ย/แผนการจดั การเรียนรสู ่งิ แวดลอ มศกึ ษา
ขอสถานศึกษา
- มีการวเิ คราะหห ลกั สตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน ตัวช้ีวัดทีเ่ กี่ยวขอ งกับส่งิ แวดลอ ม
- มีการวเิ คราะหส ภาพปจจุบัน ปญ หาของชุมชน เชอื่ มโยงสหู ลักสตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน
ตวั ชว้ี ัดท่สี อดคลองกบั สิ่งแวดลอม
- มกี ารจัดทาํ หนวยการเรยี นรบู รู ณาการสิง่ แวดลอมศึกษาตามบรบิ ทของทอ งถน่ิ
- มกี ารจัดทําแผนการจดั การเรยี นรูบรู ณาการสง่ิ แวดลอ มศกึ ษาในกลมุ สาระการเรยี นรู
ทเ่ี กย่ี วของ

๒๔

ระดับคณุ ภาพ คําอธบิ ายระดับคุณภาพ
๓ - มีการวเิ คราะหห ลกั สตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน ตัวช้วี ัดทเ่ี กย่ี วขอ งกบั สงิ่ แวดลอม
- มีการวิเคราะหสภาพปจจุบนั ปญ หาของชุมชน เช่ือมโยงสหู ลักสตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน
๒ ตัวชว้ี ดั ท่ีสอดคลอ งกบั ส่ิงแวดลอ ม
๑ - มีการจดั ทาํ หนว ยการเรยี นรูบูรณาการสิง่ แวดลอ มศกึ ษาตามบรบิ ทของทอ งถิ่น
- มกี ารวเิ คราะหห ลกั สูตรแกนกลางฯ มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั ท่เี ก่ียวขอ งกบั ส่งิ แวดลอม
- มกี ารวิเคราะหส ภาพปจจุบนั ปญ หาของชุมชน เชื่อมโยงสหู ลกั สูตรแกนกลางฯ มาตรฐาน
ตวั ชว้ี ดั ท่ีสอดคลอ งกบั สงิ่ แวดลอม
- มีการวเิ คราะหหลกั สตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน ตัวชี้วัดที่เกยี่ วของกบั สงิ่ แวดลอ ม

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ มูล แหลงขอมลู
๑. การสัมภาษณ/สอบถาม - ผเู รยี น ครู ผบู รหิ าร ผเู กย่ี วขอ ง
๒ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - หลกั สตู รสถานศึกษา /สาระการเรียนรทู ่เี กย่ี วขอ งกับ
ขอ มลู เชิงประจกั ษ สิง่ แวดลอมศกึ ษา
- หนว ยการเรียนรบู ูรณาการสง่ิ แวดลอ มศึกษา
- แผนการจัดการเรียนรดู า นส่งิ แวดลอม
- เครอ่ื งมอื ประเมินหนว ย/แผนการจัดการเรยี นรู
- รายงานการประเมนิ หนวยงาน/แผนการจัดการเรียนรู
- คําสัง่ แตง ตง้ั คณะทาํ งาน
- บนั ทกึ การประชมุ
- รอ งรอยการนเิ ทศติดตาม
- ภาพถา ย

ตัวช้ีวัดท่ี ๓.๒ มีการจัดการเรียนรูตามหนวย/แผนการเรียนรู
สิ่งแวดลอมศึกษา

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการจัดการเรียนรูตามหนวย/แผนการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษา มีการวัดและ
ประเมินผลท่ีหลากหลายสงผลใหผูเรียนบรรลุตามวัตถุประสงคของสิ่งแวดลอมศึกษา ๕ ดาน ประกอบ
ดวยการตระหนักรับรู ความรู เจตคติ ทักษะ การมีสวนรวมสามารถวิเคราะหสถานการณปจจุบัน
แนวโนมท่ีเกิดขึ้นในอนาคต มีสวนรวมในการแกปญหาส่ิงแวดลอมในทองถ่ิน เชื่อมโยงโดยนําหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาไดอยางเหมาะสม

๒๕

ประเด็นการพิจารณา

๑. จัดกิจกรรมการเรียนรูบรรลุวัตถุประสงคของสิ่งแวดลอมศึกษา ครอบคลุมทุกดาน
๒. มีการจัดกิจกรรมใหนักเรียนวิเคราะหสถานการณสิ่งแวดลอมในปจจุบันและ

แนวโนมที่จะเกิดข้ึนในอนาคต
๓. มกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนรูใหผ เู รยี นมสี ว นรวมในการแกปญ หาสิง่ แวดลอ มในทอ งถิ่น
๔. จัดกิจกรรมการเรียนรูดานส่ิงแวดลอมศึกษาเช่ือมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงไดอยางเหมาะสม
๕. มีการวัดประเมินผลการเรียนรูดวยวิธีการท่ีหลากหลาย

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คุณภาพ คาํ อธิบายระดับคณุ ภาพ
๕ - จัดกจิ กรรมการเรียนรูบรรลุวตั ถปุ ระสงคข องสิ่งแวดลอ มศกึ ษา ครอบคลมุ ทุกดาน
- มกี ารจดั กิจกรรมใหน ักเรยี นวเิ คราะหส ถานการณป จ จุบนั และแนวโนมทจี่ ะเกดิ ในอนาคต
๔ - มีการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูใหผ เู รียนมีสว นรว มในการแกป ญหาสงิ่ แวดลอมในทองถิ่น
- จดั กิจกรรมการเรยี นรูดานส่งิ แวดลอมศึกษาเช่ือมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมา
๓ ไดอ ยางเหมาะสม
๒ - มีการวัดประเมนิ ผลการเรียนรดู วยวิธีการทห่ี ลากหลาย
๑ - จัดกิจกรรมการเรยี นรบู รรลุวตั ถปุ ระสงคข องสง่ิ แวดลอมศึกษา ครอบคลุมทุกดาน
- มกี ารจัดกจิ กรรมใหน ักเรยี นวิเคราะหส ถานการณปจ จุบนั และแนวโนมทจี่ ะเกิดในอนาคต
- มกี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ หผเู รยี นมสี วนรว มในการแกป ญ หาสง่ิ แวดลอมในทองถน่ิ
- จัดกจิ กรรมการเรียนรดู านสงิ่ แวดลอมศึกษาเช่ือมโยงหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมา
ไดอยา งเหมาะสม
- จดั กิจกรรมการเรยี นรูบรรลุวัตถุประสงคข องสง่ิ แวดลอมศึกษา ครอบคลมุ ทกุ ดาน
- มีการจดั กจิ กรรมใหน ักเรียนวเิ คราะหสถานการณป จจบุ ันและแนวโนม ท่จี ะเกดิ ในอนาคต
- มีการจดั กจิ กรรมการเรียนรใู หผเู รยี นมสี วนรว มในการแกปญ หาสง่ิ แวดลอ มในทอ งถ่ิน
- จดั กิจกรรมการเรยี นรูบรรลุวตั ถุประสงคข องสงิ่ แวดลอ มศกึ ษา ครอบคลุมทุกดาน
- มกี ารจัดกจิ กรรมใหน ักเรยี นวิเคราะหสถานการณป จ จบุ นั และแนวโนมทจ่ี ะเกิดในอนาคต
- จัดกิจกรรมการเรยี นรูบรรลุวตั ถปุ ระสงคของสง่ิ แวดลอ มศกึ ษา ครอบคลมุ ทุกดาน

๒๖

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู แหลง ขอมูล
๑ การสังเกต - การจดั กิจกรรมการเรียนรู
- พฤติกรรมของผูเรียน ครู ผบู รหิ าร ผูเกี่ยวของ
๒ การสมั ภาษณ/สอบถาม - ผูบริหาร ครู นักเรียน ผเู กย่ี วของ
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน - หนวย/แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูด า นส่ิงแวดลอม
รองรอย / ขอมลู เชิงประจักษ - สอื่ เอกสารความรู ใบงาน บัตรกิจกรรมฯลฯ
- เครอื่ งมอื วัดและประเมินผล
- รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู
- ฯลฯ

ตัวชี้วัดท่ี ๓.๓ มีสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู แหลงเรียนรูและ
ภูมิปญญาทองถ่ินอยางหลากหลาย

คําอธิบาย

สถานศึกษา มีการจัดทําหรอื จัดหาส่ือ นวตั กรรมการจัดการเรียนรู แหลงเรยี นรแู ละภมู ิปญ ญา
ทอ งถน่ิ อยา งหลากหลายสอดคลอ งกบั จดุ ประสงคแ ละกจิ กรรมการเรยี นรู ใชส อื่ อยา งคมุ คา มกี ารประเมนิ
การใช รายงานผลการใช และมีการนําขอมูลมาปรับปรุงและพัฒนาตลอดท้ังเผยแพร ประชาสัมพันธ
ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี นสถานศกึ ษา

ประเด็นการพิจารณา

๑. จัดทําหรือจัดหาสื่อ/ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู / แหลงการเรียนรู /ภูมิปญญาทอง
ถ่ินอยางหลากหลายสอดคลองกับจุดประสงคและกิจกรรมการเรียนรู

๒. ใชส ื่อ/ นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู แหลงเรยี นรแู ละภูมปิ ญ ญาทองถน่ิ อยางหลากหลาย
๓. มีการประเมิน และรายงานผลการใชส่ือ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู แหลงเรียนรูและ

ภูมิปญญาทองถิ่น
๔. มีการนําขอมูลจากการประเมินมาใชปรับปรุงและพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียน

รูแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถ่ิน
๕. มีการเผยแพร ประชาสัมพันธ สื่อ / นวัตกรรมการจัดการเรียนรู / แหลงเรียนรูภายใน

และภายนอกสถานศึกษา

๒๗

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คณุ ภาพ คาํ อธิบายระดบั คุณภาพ
๕ - จัดทาํ หรอื จัดหาส่อื / นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู / แหลง การเรยี นรู /ภมู ิปญ ญาทองถ่ิน
อยา งหลากหลายสอดคลอ งกบั จดุ ประสงคและกจิ กรรมการเรยี นรู
๔ - ใชส ื่อ/ นวตั กรรมการจัดการเรียนรู แหลง เรยี นรูแ ละภมู ปิ ญ ญาทอ งถิ่นอยางหลากหลาย
๓ - มกี ารประเมิน และรายงานผลการใชส ่อื นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู แหลงเรียนรแู ละ
๒ ภูมิปญญาทองถิน่
๑ - มีการนําขอมลู จากการประเมนิ มาใชป รับปรงุ และพฒั นาสอื่ นวตั กรรมการจัดการเรียนรู
แหลงเรยี นรแู ละภมู ิปญญาทองถิน่
- มกี ารเผยแพร ประชาสมั พันธ ส่อื / นวัตกรรมการจัดการเรียนรู / แหลงเรียนรูภ ายในและ
ภายนอกสถานศึกษา
- จัดทําหรือจัดหาส่อื / นวตั กรรมการจัดการเรยี นรู / แหลงการเรยี นรู /ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ
อยา งหลากหลายสอดคลองกบั จุดประสงคแ ละกิจกรรมการเรยี นรู
- ใชส อ่ื / นวตั กรรมการจัดการเรยี นรู แหลงเรยี นรูและภูมปิ ญญาทองถนิ่ อยางหลากหลาย
- มีการประเมิน และรายงานผลการใชส ือ่ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู แหลง เรยี นรแู ละ
ภมู ิปญญาทองถ่ิน
- มกี ารนําขอมูลจากการประเมินมาใชป รบั ปรงุ และพัฒนาสอื่ นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู
แหลงเรียนรูและภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน
- จดั ทําหรือจัดหาสื่อ/ นวตั กรรมการจัดการเรียนรู / แหลงการเรียนรู /ภมู ิปญ ญาทอ งถ่ิน
อยางหลากหลายสอดคลอ งกับจดุ ประสงคแ ละกจิ กรรมการเรียนรู
- ใชส่อื / นวตั กรรมการจดั การเรียนรู แหลงเรียนรแู ละภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ อยา งหลากหลาย
- มีการประเมิน และรายงานผลการใชส ื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู แหลงเรยี นรแู ละ
ภูมิปญ ญาทองถนิ่
- จดั ทาํ หรอื จดั หาสอ่ื / นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู / แหลงการเรยี นรู /ภูมิปญญาทองถ่นิ
อยา งหลากหลายสอดคลองกบั จุดประสงคแ ละกจิ กรรมการเรียนรู
- ใชส อื่ / นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู แหลงเรียนรูแ ละภมู ิปญ ญาทอ งถน่ิ อยา งหลากหลาย
- จัดทําหรอื จดั หาสือ่ / นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู / แหลงการเรยี นรู /ภูมิปญ ญาทองถน่ิ
อยา งหลากหลายสอดคลอ งกับจุดประสงคแ ละกจิ กรรมการเรยี นรู

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธีการเก็บรวบรวมขอ มลู แหลง ขอ มูล
๑ การสงั เกต - การจดั กิจกรรมการเรยี น/หองเรยี น
- พฤติกรรมการเรียนของผูเรยี นของครู อน่ื ๆ ที่เกีย่ วของ
๒ การสัมภาษณ/สอบถาม - ผเู รยี น ครู ผบู รหิ าร ผเู ก่ียวของ

๒๘

วิธีการเก็บรวบรวมขอ มลู แหลงขอมูล

๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รองรอย - หนวย/แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดา นสิ่งแวดลอม
ขอมูลเชงิ ประจักษ - ทะเบียนสื่อ แหลงเรียนรู ภูมปิ ญญาทอ งถ่นิ
- เอกสารความรู ใบงาน บัตรกิจกรรม
- เคร่อื งมอื ประเมนิ ผลการใชส อ่ื แหลงเรยี นรู
- รายงานผลการใชส ื่อ แหลง เรียนรู ภูมิปญญาทองถ่ิน
- หลกั ฐาน/รอยรอยการใช/ส่อื และพัฒนาแหลง เรียนรู ฯลฯ

มาตรฐานท่ี ๔ สถานศึกษามีการสงเสริมการจัดกิจรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน
ส่ิงแวดลอมและสุขอนามัย(ขยะ มลพิษ นํ้า พลังงาน อนามัย)

ตัวช้ีวัดที่ ๔.๑ มีแผนงานโครงการ/กิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ
พลงั งาน สิ่งแวดลอมและสุขอนามัย

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการจัดทําแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน
สิ่งแวดลอม และสุขอนามัย ที่สอดคลองกับวัตถุประสงคของสิ่งแวดลอมศึกษา ตามหลักองค ๔ แหง
การจัดการศึกษา (พุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและพลศึกษา) โดยการมีสวนรวมของครู บุคลากร
ทางการศึกษา นักเรียนและชุมชน

ประเด็นการพิจารณา

๑. แผนงาน / โครงการ / กจิ กรรม ดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน สง่ิ แวดลอมและ
สุขอนามัย

๒. มีการดําเนินงานตามแผนงาน / โครงการ / กิจกรรมท่ีสงเสริมใหผูเรียนไดแสดงออก
ตามศักยภาพของตนเอง

๓. จัดกิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่ิงแวดลอม และสุขอนามัย ครอบคลุม
ตามหลักองค ๔ แหงการจัดการศึกษา

๔. การมีสวนรวมของครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนและชุมชน
๕. มีการประเมินผลและรายงานผลการจัดกิจกรรมดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน

สิ่งแวดลอม และสุขอนามัยใหผูเกี่ยวของทราบ

๒๙

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ คาํ อธิบายระดับคณุ ภาพ
๕ - แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม ดา นทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน สงิ่ แวดลอมและ
สุขอนามัย
๔ - มีการดําเนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ / กจิ กรรมที่สงเสรมิ ใหผเู รยี นไดแ สดงออกตาม
๓ ศักยภาพของตนเอง
๒ - จัดกิจกรรม ดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน สิ่งแวดลอ ม และสขุ อนามยั ครอบคลุมตาม
๑ หลกั องค ๔ แหง การจัดการศึกษา
- การมีสวนรว มของครู บุคลากรทางการศึกษา นกั เรยี นและชุมชน
- มีการประเมินผลและรายงานผลการจัดกจิ กรรมดา นทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน
สิง่ แวดลอ ม และสขุ อนามัยใหผเู ก่ียวขอ งทราบ
- แผนงาน / โครงการ / กจิ กรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอ มและ
สขุ อนามยั
- มกี ารดาํ เนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ / กจิ กรรมทส่ี งเสริมใหผเู รยี นไดแ สดงออก
ตามศักยภาพของตนเอง
- จัดกิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอ ม และสุขอนามัย ครอบคลมุ
ตามหลกั องค ๔ แหง การจดั การศึกษา
- การมสี วนรว มของครู บุคลากรทางการศึกษา นกั เรียนและชุมชน
- แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม ดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สิง่ แวดลอ มและ
สขุ อนามยั
- มีการดาํ เนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ / กิจกรรมที่สงเสริมใหผูเ รียนไดแ สดงออก
ตามศักยภาพของตนเอง
- จัดกิจกรรม ดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่งิ แวดลอ ม และสขุ อนามยั ครอบคลมุ
ตามหลกั องค ๔ แหง การจดั การศึกษา
- แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน ส่ิงแวดลอมและ
สุขอนามัย
- มกี ารดาํ เนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ / กจิ กรรมที่สงเสรมิ ใหผ ูเ รียนไดแ สดงออก
ตามศักยภาพของตนเอง
- แผนงาน / โครงการ / กจิ กรรม ดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอมและ
สขุ อนามยั

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธกี ารเก็บรวบรวมขอมูล แหลงขอ มูล
๑ การสัมภาษณ/สอบถาม - ผเู รยี น ครู ผบู ริหาร ผเู กยี่ วของ

๓๐

วิธีการเกบ็ รวบรวมขอมูล แหลง ขอมลู

๒ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย - โครงการ/กจิ กรรมการเรยี นรูดา นส่ิงแวดลอ มศกึ ษา
ขอ มลู เชิงประจกั ษ - คาํ สงั่ /บนั ทึกการประชุมผูเ กีย่ วของ
- เคร่อื งมอื ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม
- ภาพกจิ กรรม/ผลงานนักเรียน
- รายงานผลการจัดกจิ กรรม
- ฯลฯ

ตวั ชี้วดั ที่ ๔.๒ มีฐานขอ มูลดานทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานสิ่งแวดลอม
และสขุ อนามยั

คําอธิบาย

สถานศึกษามีขอมูลสารสนเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอมและสุขอนามัย
นําไปวางแผนพัฒนาผูเรียน จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดรวบรวม วิเคราะห เปรียบเทียบวางแผนสรุป และ
แกปญหาดานสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ

ประเด็นการพิจารณา

๑. มขี อมูลสารสนเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน สง่ิ แวดลอมและสขุ อนามยั
๒. นําขอมูลสารสนเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่ิงแวดลอมและสุขอนามัยไป

วางแผนพัฒนาผูเรียน
๓. จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดรวบรวม ขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน

ส่ิงแวดลอมและสุขอนามัย
๔. จัดกิจกรรมใหผูเรียน วิเคราะห เปรียบเทียบ และสรุปโดยใชขอมูลดาน

ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่ิงแวดลอมและสุขอนามัย
๕. จัดกิจกรรมใหผูเรียนวางแผนแกปญหาสิ่งแวดลอมศึกษา และสุขอนามัย

โดยใชขอมูลสารสนเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอมและ
สุขอนามัยอยางเปนระบบ

๓๑

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ คําอธิบายระดบั คณุ ภาพ
๕ - มขี อ มูลสารสนเทศดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สิ่งแวดลอ มและสขุ อนามัย
- นาํ ขอมูลสารสนเทศดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน สิง่ แวดลอ มและสขุ อนามยั
๔ ไปวางแผนพัฒนาผเู รียน
- จัดกิจกรรมใหผเู รยี นไดร วบรวม ขอ มลู ดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอ ม
๓ และสุขอนามยั
๒ - จัดกจิ กรรมใหผูเรียน วิเคราะห เปรยี บเทียบ และสรปุ โดยใชขอมลู ดา นทรัพยากรธรรมชาติ
๑ พลงั งาน สงิ่ แวดลอ มและสขุ อนามยั
- จดั กจิ กรรมใหผเู รียนวางแผนแกปญหาโดยใชขอมลู สารสนเทศดา นทรัพยากรธรรมชาติ
พลงั งาน ส่งิ แวดลอ มและสุขอนามัยอยางเปนระบบ
- มีขอ มูลสารสนเทศดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน สง่ิ แวดลอ มและสขุ อนามัย
- นาํ ขอ มูลสารสนเทศดา นทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน ส่ิงแวดลอมและสขุ อนามยั
ไปวางแผนพัฒนาผูเ รียน
- จัดกจิ กรรมใหผ เู รยี นไดร วบรวม ขอ มูลดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สิง่ แวดลอม
และสขุ อนามยั
- จัดกิจกรรมใหผ เู รียน วเิ คราะห เปรียบเทียบ และสรปุ โดยใชขอมลู ดานทรัพยากรธรรมชาติ
พลงั งาน ส่ิงแวดลอมและสุขอนามยั
- มีขอมลู สารสนเทศดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สง่ิ แวดลอมและสุขอนามยั
- นาํ ขอ มลู สารสนเทศดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่ิงแวดลอมและสุขอนามัย
ไปวางแผนพฒั นาผเู รียน
- จัดกิจกรรมใหผเู รียนไดรวบรวม ขอมลู ดา นทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน สง่ิ แวดลอม
และสขุ อนามยั
- มขี อ มลู สารสนเทศดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิง่ แวดลอ มและสขุ อนามัย
- นาํ ขอ มลู สารสนเทศดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่งิ แวดลอมและสุขอนามยั
ไปวางแผนพัฒนาผเู รยี น
- มีขอ มลู สารสนเทศดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่งิ แวดลอมและสุขอนามยั

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ มูล แหลงขอ มลู
๑ การสัมภาษณ/ สอบถาม - ผูเรยี น ครู ผบู รหิ าร ผูเ ก่ียวขอ ง
๒ การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน รอ งรอย - ขอ มูลสารสนเทศดา นส่งิ แวดลอมฯลฯ
ขอมลู เชิงประจักษ - ภาพกจิ กรรม/ผลงานนกั เรียน
- รายงานผลการจดั กจิ กรรมโดยใชฐานขอ มูล
๓๒ - ผลงาน/ชิน้ งาน
- ภาพถาย

ดานท่ี ๓ การมีสวนรวมและการสรางเครือขาย

มาตรฐานท่ี ๕ สถานศึกษามีการสรางเครือขายการมีสวนรวมภายในสถานศึกษา

ตวั ช้วี ดั ท่ี ๕.๑ มกี ารจดั ตัง้ ชุมนมุ /ชมรม/สภานักเรียน ทดี่ ําเนินงานดา น
สิ่งแวดลอ มศึกษาภายในสถานศกึ ษาอยา งชัดเจน

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการสรางเครือขายการมีสวนรวมภายในสถานศึกษา โดยจัดต้ังชุมนุม/ชมรม/
สภานักเรียน ที่ดําเนินงานดานส่ิงแวดลอมศึกษาภายในสถานศึกษาอยางชัดเจนแกนนําและสมาชิก
มีสวนรวมในการวางแผน จัดกิจกรรม และมีผูรับผิดชอบชัดเจนมีการประชุมกรรมการอยางนอย
ภาคเรียนละ ๒ คร้ัง มีการประชุมสรุปรายงานผลการดําเนินงาน

ประเด็นการพิจารณา

๑. จดั ต้ังชมุ นุม/ชมรม/สภานกั เรยี น ทด่ี าํ เนินงานดา นส่งิ แวดลอมศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา
ชัดเจน

๒. การมีสวนรวมของแกนนําและสมาชิก
๓. มีการจัดกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมศึกษาอยางนอย ภาคเรียนละ ๒ คร้ัง
๔. มรี ายงานการประชุมสรุปรายงานผลการดําเนินงานในแตละกิจกรรม
๕. มกี ารเผยแพรข ยายผลการจัดกจิ กรรมดา นสง่ิ แวดลอมศกึ ษาภายในสถานศึกษา

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คุณภาพ คาํ อธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๕ - จัดตัง้ ชมุ นมุ /ชมรม/สภานักเรียน ท่ีดาํ เนินงานดา นสิ่งแวดลอ มศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา
ชดั เจน
๔ - การมีสว นรว มของแกนนาํ และสมาชิก
- มีการจดั กิจกรรมดานส่ิงแวดลอมศึกษาอยา งนอ ย ภาคเรียนละ ๒ คร้ัง
- มรี ายงานการประชมุ สรปุ รายงานผลการดาํ เนินงานในแตล ะกิจกรรม
- มีการเผยแพรขยายผลการจดั กิจกรรมดา นสงิ่ แวดลอมศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา
- จดั ตั้งชมุ นมุ /ชมรม/สภานกั เรยี น ทด่ี ําเนินงานดาน ส่งิ แวดลอ มศึกษาภายในสถานศกึ ษา
ชัดเจน
- การมีสวนรว มของแกนนําและสมาชกิ
- มกี ารจัดกจิ กรรมดา นสิ่งแวดลอ มศึกษาอยา งนอย ภาคเรยี นละ ๒ ครงั้
- มีรายงานการประชมุ สรุปรายงานผลการดําเนินงานในแตละกจิ กรรม

๓๓

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก