ฝากครรภ์ ศิริราช ปิย มหาราช การุณย์

โปรแกรมตรวจสุขภาพ
1.ตรวจร่างกายทั่วไปโดยแพทย์
2.เอกซเรย์ปอด
3.ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด
4.ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด

5.ตรวจระดับไขมันในเลือด

6.ตรวจปัสสาวะ
7.ตรวจการทำงานของไต

8.ตรวจการทำงานของตับ

9.ตรวจหากรดยูริคในเลือด
10.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
11.ตรวจหามะเร็งต่อมลูกหมาก

12.ตรวจอุจจาระ

13.ตรวจอัลตร้าซาวด์ช่องท้องทั้งหมด

14.เอกซเรย์เต้านมด้วยเครื่องดิจิทัลและอัลตร้าซาวด์เต้านม
15.ตรวจมะเร็งปากมดลูก
16.คูปองอาหาร
17.สมุดรายงานผลตรวจสุขภาพ

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมและรับบริการที่

คลินิคตรวจสุขภาพ เปิดทุกวัน เวลา 7-15 น. ชั้น 4 โซน E 

กรุณานัดหมายล่วงหน้า โทร 1474

This price for Thai citizen

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้รับความเห็นชอบตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2546 มติที่ประชุมคณะกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทยครั้งที่ 14/2546 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2546 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 16 กันยายน 2546 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2552 และมติคณะกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย ได้เห็นชอบเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2553 ให้คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ใช้สิทธิเหนือพื้นดินของการรถไฟแห่งประเทศไทย บริเวณสถานีรถไฟธนบุรีริมแม่น้ำเจ้าพระยาช่วงที่เชื่อมคลองบางกอกน้อย รวมเนื้อที่ประมาณ 33 ไร่ 2 งาน 94 ตารางวา หรือ 53,976 ตารางเมตร[1] พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารโครงการพัฒนาศิริราชสู่สถาบันการแพทย์ชั้นเลิศ ในเอเชียอาคเนย์ ณ บริเวณสถานีรถไฟธนบุรี (เดิม) เขตบางกอกน้อย ใน วันจันทร์ที่ 17 มีนาคม 2551 และพระราชทานนาม อาคารโรงพยาบาลว่า อาคารปิยมหาราชการุณย์ [2] ต่อมาคณะกรรมการประจำคณะแพทยศาสตร์ได้มีมติเมื่อวันอังคารที่ 6 กรกฎาคม 2553 ให้จัดตั้งเป็น “โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ (Siriraj Piyamaharajkarun Hospital) ชื่อย่อ “SiPH”[3] และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจะเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารสถาบันการแพทย์ และลานพลับพลาประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงอุ้มสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ ในบริเวณใกล้เคียงกับอาคารโรงพยาบาล ซึ่งเดิมกำหนดไว้ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 แต่เนื่องจากมีแถลงการณ์สำนักพระราชวัง ฉบับที่ 59 ทำให้ต้องเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด

  • หัวใจและหลอดเลือด
  • สายตา
  • ส่องกล้องทางเดินอาหาร
  • เปลี่ยนถ่ายอวัยวะ
  • ปลูกถ่ายไขกระดูก

ค่าคลอดบุตรเป็นค่าใช้จ่ายก้อนแรกที่ต้องเตรียมต้อนรับสมาชิกใหม่ ไทยรัฐออนไลน์สำรวจค่าคลอดบุตรจาก 25 โรงพยาบาล ทั้งโรงพยาบาลรัฐ และเอกชน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่าในปี 2564 นี้ ค่าคลอดเฉลี่ยของการคลอดธรรมชาติอยู่ที่ 50,000 บาท และค่าผ่าคลอด 70,000 บาท โดยแพ็กเกจคลอดส่วนใหญ่รวมราคาค่าแพทย์และห้องพักแล้ว

นอกจากค่าอุปกรณ์การแพทย์ สิ่งที่คุณแม่จะได้รับในแพ็กเกจคลอด ได้แก่ การสอนอาบน้ำและเรียนรู้วิธีการดูแลทารกเบื้องต้น และชุดของขวัญแรกเกิด บางแพ็กเกจรวมบริการรถรับส่งถึงบ้าน

ค่าคลอด 2564 โรงพยาบาลในกรุงเทพฯและปริมณฑล

1. โรงพยาบาลบางกอกเนอสซิ่งโฮม (BNH)

  • คลอดปกติ 99,900 บาท
  • ผ่าคลอด 119,900 บาท

2. โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์

  • คลอดปกติ 98,000 บาท
  • ผ่าคลอด 129,000 บาท

3. โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท

  • คลอดปกติ 89,900 บาท
  • ผ่าคลอด 119,000 บาท

4. โรงพยาบาลพระรามเก้า

  • คลอดปกติ 85,000 บาท
  • ผ่าคลอด 99,000 บาท

5. โรงพยาบาลกรุงเทพ

  • คลอดปกติ 82,500 บาท
  • ผ่าคลอด 115,500 บาท

6. โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์

  • คลอดปกติ 72,000 บาท
  • ผ่าคลอด 99,000 บาท

7. โรงพยาบาลพญาไท 2

  • คลอดปกติ 60,000 บาท
  • ผ่าคลอด 82,000 บาท

8. โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์

  • คลอดปกติ 50,000 บาท
  • ผ่าคลอด 77,000 บาท

9. โรงพยาบาลเจ้าพระยา

  • คลอดปกติ 49,900 บาท
  • ผ่าคลอด 69,900 บาท

10. โรงพยาบาลวิภาวดี

  • คลอดปกติ 46,900 บาท
  • ผ่าคลอด 62,900 บาท

11. โรงพยาบาลวิชัยยุทธ

  • คลอดปกติ 45,900 บาท
  • ผ่าคลอด 69,900 บาท

12. โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน

  • คลอดปกติ 45,900 บาท
  • ผ่าคลอด 79,000 บาท

13. โรงพยาบาลเปาโลรังสิต

  • คลอดปกติ 45,000 บาท
  • ผ่าคลอด 55,000 บาท

14. โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล

  • คลอดปกติ 45,000 บาท
  • ผ่าคลอด 69,000 บาท

15. โรงพยาบาลนนทเวช

  • คลอดปกติ 42,000 บาท
  • ผ่าคลอด 59,000 บาท

16. โรงพยาบาลธนบุรี 2

  • คลอดปกติ 40,000 บาท
  • ผ่าคลอด 67,900 บาท

17. โรงพยาบาลบี แคร์ เมดิคอลเซ็นเตอร์

  • คลอดปกติ 37,900 บาท
  • ผ่าคลอด 49,900 บาท

18. โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ บางแค

  • คลอดปกติ 37,500 บาท
  • ผ่าคลอด 52,500 บาท

19. โรงพยาบาลเซ็นทรัลเยนเนอรัล

  • คลอดปกติ 36,000 บาท
  • ผ่าคลอด 48,000 บาท

20. โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ประชาชื่น

  • คลอดปกติ 34,500 บาท
  • ผ่าคลอด 49,500 บาท

21. โรงพยาบาลหัวเฉียว

  • คลอดปกติ 33,000 บาท
  • ผ่าคลอด 45,000 บาท

22. โรงพยาบาลสินแพทย์

  • คลอดปกติ 33,000 บาท
  • ผ่าคลอด 48,000 บาท

23. โรงพยาบาลคามิลเลียน

  • คลอดปกติ 32,900 บาท
  • ผ่าคลอด 44,900 บาท

24. โรงพยาบาลลาดพร้าว

  • คลอดปกติ 29,900 บาท
  • ผ่าคลอด 42,900 บาท

25. โรงพยาบาลกลาง

  • คลอดปกติ 5,500 บาท
  • ผ่าคลอด 15,000 บาท

รวมแพ็กเกจค่าคลอด 25 รพ. รัฐและเอกชน ทั้งคลอดธรรมชาติและผ่าคลอด (อ้างอิงราคา 2564)

คำแนะนำก่อนเลือกแพ็กเกจคลอด

เนื่องจากการจองแพ็กเกจคลอดต้องชำระวางเงินจองก่อน หากคุณแม่ต้องเปลี่ยนโรงพยาบาลก็จะไม่ได้รับคืน ส่วนของสมนาคุณที่ได้จากแพ็กเกจอาจจะไม่ค่อยได้ใช้ ไม่จำเป็น ดังนั้นคุณแม่ต้องเปรียบเทียบราคากับสิ่งที่จะได้ในแพ็กเกจคลอดของแต่ละโรงพยาบาลก่อน ดังนี้

พิจารณาภาวะเสี่ยง

หากคุณแม่มีโรคประจำตัวที่อาจส่งผลให้ต้องผ่าคลอด ควรปรึกษาแพทย์ก่อนเลือกแพ็กเกจ เพราะหากเลือกคลอดธรรมชาติแล้วต้องผ่าคลอดภายหลัง ก็จะมีราคาเตรียมอุปกรณ์และแพทย์ผู้ช่วยเพิ่มขึ้นจากราคาแพ็กเกจผ่าคลอด ส่วนกรณีครรภ์แฝด เมื่อทราบว่ามีลูกแฝดจะเลือกแพ็กเกจคลอดแฝดได้ทัน

เลือกโรงพยาบาลที่คุ้นชินเส้นทาง

การเลือกแพ็กเกจคลอดกับโรงพยาบาลต่างๆ ว่าที่คุณแม่ควรเลือกโรงพยาบาลที่ใกล้บ้าน เดินทางสะดวก หรืออยู่ในเส้นทางที่คุ้นชิน เดินทางง่าย เพราะหากต้องเดินทางโดยไม่รู้เส้นทาง แล้วเกิดภาวะต้องคลอดระหว่างทาง จะส่งผลต่อความปลอดภัยของคุณแม่และทารก

เปรียบเทียบสิ่งที่ได้ในแพ็กเกจ

ในแต่ละปีนอกจากรายการเครื่องมือแพทย์และค่าแพทย์แล้ว สิ่งที่จะได้รับเพิ่มจากแพ็กเกจ เช่น เสื้อผ้า ชุดอุปกรณ์ดูแลเด็ก กระเป๋าสัมภาระ รวมถึงบริการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพ โภชนาการ บางโรงพยาบาลมีส่วนลดวัคซีนคุณแม่และทารกในราคาพิเศษจนถึงหลังคลอด

ทั้งหมดนี้เป็นราคาที่อ้างอิงในปี 2564 ราคาและค่าบริการอื่นๆ อาจเปลี่ยนแปลงได้ หากคุณสนใจจองแพ็กเกจจาก 25 โรงพยาบาลที่มีรายชื่อทั้งหมดนี้ สามารถติดต่อขอข้อมูลเพิ่มเติมได้จากโรงพยาบาลโดยตรง.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก