หน่วยงานที่ ดูแล เรื่อง สิทธิ มนุษย ชน

องค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีต่อประเทศไทย
     1.  คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council)
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ(Un  commission  for human  rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด  47  ประเทศ  วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ การพัฒนากลไกสิทธิมนุษยชนเป็นเอกภาพมากขึ้น  สำหรับประเทศไทยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติได้เข้ามามีบทบาทในหการเผยแพร่ความรู้ในเรื่องสิทธิมุนษยชนให้แพร่หลายมากขึ้น เพื่อตรวจสอบ  ติดตาม ให้ข้อแนะนำและเผยแพร่รายงานกรณีสิทธิมนุษยชน  สำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงเฮก  ประเทศเนเธอร์แลนด์
      2.  องค์กรนิรโทษกรรมสากล  (AI: Amnesty  Internationnal)
เป็นองค์กรอาสาสมัครระหว่างประเทศที่ทำงานด้านมนุษยชน  โดยมีวัตถุประสงค์หลัก  คือ ยุติการละเมิดมนุษยชนและพยายามที่จะหาวิธีที่เหมาะสมในการช่วยเหลือผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของการละเมิดสิทธิมนษยชน  เช่น ปลดปล่อยนักโทษทางความคิดอย่างไม่มีเงื่อนไข ซึ่งได้แก่บุคคลที่ถูกกักขังเรื่องสีผิว  เชื้อชาติ ภาษาหรือศาสนา โดยที่นักโทษไม่เคยใชช้หรือสนับสนุนที่จะใช้ความรุนแรง เป็นต้น ปัจุบัจมีสมาชิกทั้งหมดประมาณ ๑๐๐ ประเทศทั่วโล และมีสำนักงานในประเทศไทยตั้งอยู่ที่เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร
     3.  องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ  (ILO:Internatonal Labour Orgenization)
องค์กรแรงงานระหว่างประเทศเป็นองค์กรที่ส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน  ความยุติธรรมในสังคมและสนับสนุนให้เกิดความเป็นธรรมในการใช้แรงงาน รวมทั้งช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการพัฒนาเศษฐกิจแลtสังคม  องค์กรแรงงานระหว่างประเทศเป็นองค์กรแรกขององค์การชำนัญพิเศษองค์การแรกของสหประชาชาติ  โดยประเทศไทยก็เป็นหนึ่งที่รวมก่อตั้ง    ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมดจำนวน 178  ประเทศจากทั่วโลก
    4.  มูลนิธิความร่วมมือเพื่อต้านการค้าหญิง (GAATW:Global Alliance  Against Traffic in woman)
มูลนิธิความร่วมมือเพื่อต่อต้านการค้าหญิง  เป็นเครือข่ายขององค์กพัฒนาเอกชนจากทั่วทุกภูมิภาคของโลก  ที่ทำงานในประเด็นปัญหาผู้หญิง เด็กและผู้ชายที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนจากการค้ามนุษย์  โดยมีเป้าหมายหลัก คือ เพื่อต่อต้านการคุกคามแรงงานหญิงที่ย้ายถิ่นจากระบบตลาดแรงงานไม่เป็นทางการในปัจจุบัน  รวมทั้งความปลอดภัยจากหารย้ายถิ่น ปกป้องสิทธิของแรงงานข้ามพรมแดน ปัจุบันมีองค์กรที่เป็นสมาชิกประมาณ  80  ประเทศทั่วโลก
    5.  มูลนิธิเพื่อยุติการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก (ECPAT:End child Prostitution In Asia Tourism)
มูลนิธิเพื่อการยุติการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่มีหน้าที่ในการต่อต้านการล่วงระเมิดทางเพศกับเด็กทุกรูปแบบ  พร้อมทั้งกระตุ้นในสาธารณชนได้ตระหนักถึงสถานการณ์ความรุนแรง  ของธุรกิจการค้าประเวณีและการท่องเที่ยว  อันเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กถูกเอาเปรียบทางเพศ  เช่น เพื่อเสนอทางเลือกอื่นให้ครอบครัวที่มีความเสี่ยงในการเข้าสู่กระบวนการค้าประเวณี  
เป็นต้น  ประเทศไทยได้มีบทบาทดำเนินงานเกี่ยวกับเรื่องเพศและการค้าประเวณี ในพื้นที่ภาคเหนือ ของประเทศไทยและได้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันเด็กเข้าสู่กระบวนการการค้าประเวณีในภาคเหนือของไทย  อันประกอบด้วยจังหวัดเชียงราย  เชียงใหม่  ลำพูน  และพะเยา  สำนักงานในไทยตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงราย

1. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เป็นหน่วยงานที่ได้รับการยกย่องให้เป็นองค์การตามรัฐธรรมนูญ จึงเป็นหน่วยกลางที่มีบทบาทอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนกว้างขวางมากที่สุด

2. กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงวัฒนธรรม  เป็นหน่วยงานที่จะทำหน้าที่อบรมสั่งสอน

ศึกษาวิจัย และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเพื่อให้สาธารณชน โดยเฉพาะนักเรียนและนักศึกษาได้รับรู้และช่วยกันส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

3. กระทรวงมหาดไทย  มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของบุคคลตั้งแต่เกิดจนตาย เช่น จดทะเบียน คนเกิด จดทะเบียนบ้าน และย้ายบ้าน ทำบัตรประจำตัวประชาชน จดทะเบียนคนตาย เป็นต้น

4. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ  มีอำนาจหน้าที่ในการคุ้มครองมิให้มีการละเมิดสิทธิมนุษย์ชนและดำเนินคดีกับบุคคลที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน

5. หน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐ ที่ใช้อำนาจในการส่งเสริม และดูแลเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนเป็นครั้งคราว เช่น กรมประชาสงเคราะห์ กรมป่าไม้  กรมที่ดิน เป็นต้น

              หน่วยงานของเอกชน  หน่วยงานของเอกชน มีเป็นจำนวนมาก ทั้งหน่วยงานขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ บางหน่วยงานเกิดจากการรวมตัวกันของคนไทยด้วยกันเอง เช่น สภาสตรีแห่งชาติ มูลนิธิเด็ก และสมาคมส่งเสริมสิทธิเสรีภาพ เป็นต้น ส่วนองค์การบางองค์การของเอกชนก็ได้รับการสนับสนุนจากต่างประเทศให้เคลื่อนไหวเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน เช่น องค์การสงเคราะห์ผู้ลี้ภัย องค์การส่งเสริมสิทธิมนุษยชนแห่งประเทศไทย  เป็นต้น

การมีส่วนร่วมในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน  

            การมีส่วนร่วมสามารถกระทำได้ดังนี้

1. ประชาชนทุกคนต้องใช้สิทธิมนุษยชน เพื่อคุ้มครองตนเองมิให้ถูกละเมิดสิทธิ

2. ป้องกันและต่อต้านการละเมิดสิทธิมนุษยชนในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางการเมืองที่สำคัญ เช่น การชุมนุมอย่างสงบโดยปราศจากอาวุธ

3. ประชาชนต้องเคารพในสิทธิมนุษยชนของผู้อื่น และปฏิบัติต่อคนอื่นอย่างเสมอภาคไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นใครก็ตาม

หน่วยงานใดมีบทบาทเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนมากที่สุด

1. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นหน่วยงานที่ได้รับการยกย่องให้เป็นองค์การตาม รัฐธรรมนูญ จึงเป็นหน่วยกลางที่มีบทบาทอ านาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนกว้างขวางมากที่สุด

หน่วยงานใดมีหน้าที่ดำเนินคดีกับบุคคลที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน

NHRC : สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ - สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

ประเทศไทยมีหน่วยงานใดที่ทำหน้าที่ดูแลด้านสิทธิมนุษยชน

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (อังกฤษ: National Human Rights Commission of Thailand) เป็นคณะบุคคลจำนวน 7 คน ซึ่งประกอบด้วย ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นที่ ...

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก