อายุ 18 ปี บริบูรณ์ ทําอะไรได้บ้าง

Advertisement

คนรุ่นใหม่ที่เกิดวันที่ 24 มี.ค. 2544 จะมีสิทธิ์เลือกตั้งในครั้งนี้ด้วย เนื่องจากจะมีอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์พอดีในวันเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญฉบับปี 2560 กำหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งไว้ต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ โดยรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนดให้หนึ่งในคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งคือ ต้อง “มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีในวันเลือกตั้ง” นั่นหมายความว่าคนรุ่นใหม่ที่เกิดในวันที่ 24 มี.ค. 2544 (รวมถึงคนที่เกิดก่อนหน้านั้น) จะมีสิทธิ์เลือกตั้งด้วย เนื่องจากในวันเลือกตั้ง 24 มี.ค. 2562 พวกเขาเหล่านี้จะมีอายุ 18 ปีบริบูรณ์พอดี

สำหรับรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ เช่นฉบับปี 2540 และฉบับปี 2550 ได้กำหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งไว้ต่างออกไป โดยกำหนดไว้ว่าผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งต้อง “มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง”

ฉะนั้นแล้วคนรุ่นใหม่ที่เกิดในช่วงต้นปี พ.ศ. 2544 จึงโชคดีจากรัฐธรรมนูญฉบับใหม่นี้ ที่ทำให้พวกเขามีสิทธิ์เลือกตั้งด้วย เพราะหากใช้กฎเกณฑ์ตามรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ คนที่เกิดในปี 2544 จะไม่มีสิทธิ์เลือกตั้งในครั้งนี้

podcast

กำลังโหลดบทความถัดไป...



���� 18 �� ˹��͡�ҡ��ҹ�ͧ

��ҡ������ ��黡��ͧ�ѧ���Է����駵��Ǩ ��ͧ��ͧ ���͵����Ǵ��¡����¢���˹���¤� �ҡ���� 18 ������ 



����駡�з�� Qwe :: �ѹ���ŧ��С�� 2020-02-15 21:15:56



�����Դ��繷�� 1 (4360404)

 ���Դ������ô� �繼�����ӹҨ����ͧ �Ѻ�ص÷����������ӹҨ����ͧ�ͧ�Դ������ôҹ�� ����੾�кص÷���繼���������ҹ��

�ص÷�����عԵ���������-�����Ҩк���عԵ��������С��������������ؤú 17 �պ�Ժ�ó� -���ͺ���عԵ��������������ؤú 20 �պ�Ժ�ó����

�����Ҿ�����������������ͧ��������ӹҨ����ͧ�ͧ�Դ������ô�ա����

�ѧ��鹵����Ӷ�� ���� 18 �� �֧�ѧ������عԵ����� 㹡óշ���ѧ����騴����¹���� �֧�ѧ��ͧ�������ӹҨ����ͧ�ͧ��黡��ͧ�����Ѻ 

����Ѻ�Է�Է����駵��Ǩ ��ͧ��ͧ ��ͧ�������Ѻ ��Ҩд��Թ��աѺ�� ����ͧ���� ����ͺص�˹��͡�ҡ��ҹ�֧���Դ��������������ͧ��ͺ���Ƿ��е�ͧ���Թ�������ͧ 

�ӹҨ����ͧ����ҵ�� 1566 ��ҹ��������������

����ʴ������Դ��� ���¤����չ��� 085-9604258 �ѹ���ͺ 2020-02-16 12:39:10






BaanBaan ประกาศขาย-เช่า โครงการ โปรโมชั่นบ้าน บทความ คำนวณสินเชื่อ เกี่ยวกับเรา ติดต่อเรา

อายุเท่าไหร่ทำ นิติกรรม-สัญญา อสังหาริมทรัพย์ได้นะ ?

เผยแพร่: 9 พ.ค. 2565

|

หมวด:

กฎหมาย

Tags:

นิติกรรม

ความรู้เรื่องบ้าน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ผู้เยาว์ (อังกฤษ: minor) หมายถึง บุคคลผู้ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หลายประเทศมักไม่นิยามคำว่า "ผู้เยาว์" ไว้อย่างเด็ดขาด อายุสำหรับความรับผิดทางอาญา อายุอย่างต่ำที่จะให้ความยินยอมในการมีเพศสัมพันธ์ อายุที่จะต้องผ่านการศึกษาภาคบังคับ อายุที่สามารถทำนิติกรรมด้วยตนเองได้ เป็นต้น อาจแตกต่างกันไป

ในหลายประเทศรวมถึงออสเตรเลีย อินเดีย ฟิลิปปินส์ บราซิล โครเอเชียและโคลัมเบีย ผู้เยาว์หมายถึงบุคคลอายุต่ำกว่า 18 ปี ส่วนในสหรัฐอเมริกาซึ่งกำหนดอายุบรรลุนิติภาวะไว้แตกต่างกันไปในแต่ละรัฐ ผู้เยาว์มักหมายถึงผู้มีอายุต่ำกว่า 18 ปี แต่ในบางรัฐอาจหมายถึงผู้มีอายุต่ำกว่า 21 ปีในบางกรณี (เช่นการพนัน การเป็นเจ้าของปืน และการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์) ในทางอาญาคำว่าผู้เยาว์มักกำหนดไว้แตกต่างกันไป ผู้เยาว์อาจถูกดำเนินคดีและได้รับโทษในฐานะเป็นเยาวชน หรืออาจได้รับโทษเหมือนผู้ใหญ่ในความผิดร้ายแรงอย่างยิ่งเช่นฆาตกรรม

ในญี่ปุ่น ไต้หวัน ไทย และเกาหลีใต้ ผู้เยาว์หมายถึงบุคคลผู้มีอายุต่ำกว่า 20 ปี กฎหมายนิวซีแลนด์ก็กำหนดอายุของผู้บรรลุนิติภาวะไว้ 20 ปีเช่นกันแต่ผู้เยาว์ในนิวซีแลนด์สามารถใช้สิทธิส่วนใหญ่ได้ก่อนหน้าที่จะบรรลุนิติภาวะ เช่นเข้าทำสัญญาและทำพินัยกรรมได้ตั้งแต่อายุ 15 ปี

กฎหมายไทย[แก้]

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของไทย ไม่ได้นิยามคำว่าผู้เยาว์ไว้ อย่างไรก็ตาม มาตรา 19 และ 20 ได้กำหนดเหตุพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะไว้ดังนี้

"มาตรา ๑๙ บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปีบริบูรณ์"

"มาตรา ๒๐ ผู้เยาว์ย่อมบรรลุนิติภาวะเมื่อทำการสมรส หากการสมรสนั้นได้ทำตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔๔๘"

ดังนั้น บุคคลจึงบรรลุนิติภาวะและไม่เป็นผู้เยาว์ได้เมื่ออายุครบยี่สิบปี หรือสมรสโดยถูกต้องตามกฎหมาย

ผู้เยาว์จะถูกจำกัดความสามารถในการทำนิติกรรมต่าง ๆ ไว้ โดยหากผู้เยาว์จะทำนิติกรรมใด ๆ จะต้องได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน มิฉะนั้นจะตกเป็นโมฆียะ ซึ่งผู้แทนโดยชอบธรรมนั้นโดยปกติก็คือบิดามารดาของผู้เยาว์นั่นเอง ส่วนปู่ย่าตายาย ญาติ หรือผู้ปกครองตามความเป็นจริงนั้นไม่ใช่ผู้แทนโดยชอบธรรมและไม่มีอำนาจให้ความยินยอมผู้เยาว์ในการทำนิติกรรม เว้นแต่บิดามารดาถูกถอนอำนาจปกครองและศาลมีคำสั่งแต่งตั้งให้ปู่ย่าตายาย ญาติ หรือบุคคลอื่นเป็นผู้ปกครองตามกฎหมาย

นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ หมายถึงนิติกรรมนั้นสมบูรณ์อยู่จนกว่าจะถูกบอกล้างโดยผู้แทนโดยชอบธรรมหรือโดยตัวผู้เยาว์เองเมื่อบรรลุนิติภาวะแล้ว และเมื่อถูกบอกล้างแล้วจะถือว่านิติกรรมนั้นตกเป็นโมฆะมาตั้งแต่เริ่มแรกโดยให้คู่กรณีกลับคืนสู่ฐานะเดิมเสมือนไม่มีการทำนิติกรรมดังกล่าวมาก่อนเลย

อย่างไรก็ตาม ผู้เยาว์สามารถทำนิติกรรมบางอย่างได้เองโดยไม่ต้องขอความยินยอม และไม่ตกเป็นโมฆียะ กล่าวคือ

  • ก. ทำนิติกรรมเพียงเพื่อจะได้สิทธิ หรือหลุดพ้นจากหน้าที่ ซึ่งเป็นนิติกรรมที่เป็นคุณต่อผู้เยาว์ฝ่ายเดียว เช่น รับการให้โดยสเน่หา
  • ข. ทำนิติกรรมซึ่งเป็นการต้องทำเองเฉพาะตัว เช่น สมรส
  • ค. ทำนิติกรรมซึ่งเป็นการสมแก่ฐานานุรูปแห่งตนและเป็นการอันจำเป็นในการดำรงชีพตามสมควร เช่น ซื้อขายอาหารที่โรงอาหารในโรงเรียน
  • ง. ทำพินัยกรรมได้เมื่ออายุสิบห้าปีบริบูรณ์
  • จ. จำหน่ายทรัพย์สินตามที่ผู้แทนโดยชอบธรรมอนุญาต
  • ฉ. กระทำการใด ๆ อันเกี่ยวพันกับประกอบธุรกิจทางการค้าหรือธุรกิจอื่น หรือเป็นลูกจ้างในสัญญาจ้างแรงงาน ตามที่ผู้แทนโดยชอบธรรมยินยอม

ข้อจำกัดข้างต้นเป็นข้อจำกัดเฉพาะกรณีการทำนิติกรรมเท่านั้น ส่วนนิติเหตุนั้นไม่มีข้อจำกัดแต่อย่างใด ดังนั้นผู้เยาว์จึงมีหนี้ที่เกิดโดยนิติเหตุ เช่น กระทำละเมิดได้ แต่กฎหมายก็กำหนดให้บิดามารดาของผู้เยาว์ต้องร่วมรับผิดด้วย

ในทางอาญา กฎหมายก็ได้จำกัดความสามารถในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีอาญาไว้ กล่าวคือผู้เยาว์จะไม่สามารถเป็นโจทก์ฟ้องคดีได้เองไม่ว่าจะได้รับความยินยอมหรือไม่ และจะขอเข้าร่วมเป็นโจทก์กับพนักงานอัยการก็ไม่ได้ โดยผู้แทนโดยชอบธรรมจะต้องเป็นผู้มีอำนาจจัดการแทนหรือดำเนินคดีแทนผู้เยาว์ทั้งหมด แต่ข้อจำกัดนี้ไม่รวมถึงการร้องทุกข์หรือการถอนคำร้องทุกข์ ที่ผู้เยาว์ในฐานะผู้เสียหายสามารถดำเนินการด้วยตนเองได้

ทั้งนี้ คำว่า "ผู้เยาว์" จะแตกต่างจากคำว่า "เด็ก" และ "เยาวชน" ซึ่งแต่ละกฎหมายก็กำหนดไว้แตกต่างกันไป เช่นตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก กำหนดนิยามคำว่าเด็กไว้ว่าบุคคลที่มีอายุต่ำกว่าสิบแปดปี ในขณะที่พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว กลับนิยามคำว่าเด็กไว้ว่าบุคคลที่ยังอายุไม่เกินสิบห้าปี ส่วนเยาวชนคือบุคคลที่อายุเกินสิบห้าปีแล้วแต่ยังไม่ถึงสิบแปดปี

เมื่ออายุครบ 18 ปีบริบูรณ์สามารถทำอะไรได้บ้าง

- อายุ 18 >> มีสิทธิเลือกตั้ง ทำใบขับขี่รถจักรยานยนต์และรถยนต์ได้ ซื้อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ได้ ทำงานพิเศษได้หลากหลายขึ้น

อายุ 18 ปี เรียกว่าอะไร

ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงอายุผู้บรรลุนิติภาวะเป็น 18 ปีบริบูรณ์ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน นี้ จึงเป็นการกำหนดให้สอดรับกับอายุของผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งด้วย เมื่อเป็นผู้บรรลุนิติภาวะตามกฎหมาย เป็นผู้ใหญ่เต็มตัว หมายถึงอิสระ เสรีภาพ ก็มาพร้อมกับภาะหน้าที่ด้วยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

เด็กอายุกี่ปีถึงจะบรรลุนิติภาวะ

ปพพ. มาตรา 19 บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปีบริบูรณ์ มาตรา 20 ผู้เยาว์ย่อมบรรลุนิติภาวะเมื่อทำการสมรส หากการสมรสนั้นได้ทำตาม บทบัญญัติมาตรา 1448 มาตรา 21 ผู้เยาว์จะทำนิติกรรมใด ๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบ ธรรมก่อน การใด ๆ ที่ผู้เยาว์ได้ทำลงปราศจากความยินยอมเช่นว่านั้นเป็นโมฆียะ ...

ทำไมต้องบรรลุนิติภาวะ

เหตุผลในการกำหนดอายุของผู้ที่จะบรรลุนิติภาวะจะแตกต่างไปแต่ละรัฐ (หรือเขตการปกครอง) โดยทั่วไป รัฐใช้เกณฑ์ผู้ที่มีอายุอยู่ในช่วง 18-21 ปีเป็นผู้บรรลุนิติภาวะ เพราะในช่วงอายุนี้ประชาชนได้รับการศึกษาการอบรมผ่านสถาบันครอบครัวและสถาบันครอบครัวมาพอควรแล้ว ประกอบกับร่างกายก็เจริญเติบโตจนสามารถดูแลปกป้องตัวเองได้ ทำให้มั่นใจว่า ...

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก